Background Image
Previous Page  92 / 196 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 92 / 196 Next Page
Page Background

92

รายงานประจำ

�ปี 2557

จากการด�

ำเนินกิจกรรมการตรวจสอบภายใน และการ

ด�

ำเนินโครงการส�

ำคัญต่างๆ คณะอนุกรรมการตรวจสอบมี

ความเห็นว่าระบบควบคุมภายในของตลาดหลักทรัพย์ฯ มี

ความเพียงพอ เหมาะสม

(โดยแสดงรายละเอียดไว้ในหัวข้อ

“รายงานคณะอนุกรรมการตรวจสอบ”)

คณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ฯ ให้ความส�

ำคัญต่อการ

บริหารความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ โดยคณะกรรมการตลาด

หลักทรัพย์ฯ รับผิดชอบในการก�

ำหนดนโยบาย กรอบการ

บริหารความเสี่ยง และแนวทางการบริหารความเสี่ยงรวมทั้ง

แต่งตั้งคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยงซึ่งประกอบด้วย

ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์

ในการบริหารความเสี่ยงในการให้ความเห็นและข้อเสนอ

แนะต่อคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ฯ และฝ่ายจัดการ

ทั้งนี้เพื่อให้แน่ใจว่า การบริหารความเสี่ยงของตลาดหลัก

ทรัพย์ฯ ด�

ำเนินการได้อย่างเหมาะสมเป็นไปตามนโยบายที่

ก�

ำหนดและสอดคล้องกับมาตรฐานสากล รวมถึงมั่นใจได้ว่า

ครอบคลุมความเสี่ยงและประเด็นส�

ำคัญขององค์กรได้อย่าง

ครบถ้วน แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ 1. ความเสี่ยงระดับกลยุทธ์

(strategic risk) 2. ความเสี่ยงระดับธุรกิจ (business risk)

และ 3. ความเสี่ยงระดับกระบวนการปฏิบัติงาน (process risk)

โดยวิธีการประเมินความเสี่ยงและการควบคุมด้วยตนเอง

(6) การบริหารความเสี่ยง

• ฝ่ายจัดการระบุ ประเมินระดับผลกระทบและโอกาสที่จะ

เกิดของความเสี่ยงตามเกณฑ์ที่ก�

ำหนด และมีมาตรการ

ในการจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้

ติดตามผลการด�

ำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง

ที่ก�

ำหนดโดยฝ่ายจัดการในฐานะเจ้าของความเสี่ยง

ตลอดจนการรายงานสถานะความเสี่ยง โดยครอบคลุม

การทบทวนความเพียงพอและความมีประสิทธิภาพของ

มาตรการจัดการความเสี่ยงที่ส�

ำคัญอย่างต่อเนื่องเพื่อให้

มั่นใจว่ากรณีที่เกิดเหตุขึ้นจะสามารถจัดการความเสี่ยง

ได้ทันท่วงที ทั้งนี้ ครอบคลุมถึงการพิจารณามาตรการ

จัดการความเสี่ยงที่เหมาะสมส�

ำหรับการเตรียมการเริ่ม

ใช้ระบบงานช�

ำระราคาและส่งมอบหลักทรัพย์ใหม่ และ

ระบบรับฝากหลักทรัพย์ใหม่ ส�

ำหรับตลาดตราสารทุนที่

มีก�

ำหนดการเริ่มใช้ในกลางปี 2558 โดยอยู่ระหว่างการ

ทดสอบระบบร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้ง

อุตสาหกรรม

• จัดให้มีแผนด�

ำเนินธุรกิจต่อเนื่อง (Business Continuity

Plan: BCP) รวมทั้งทบทวน และซ้อมการปฏิบัติการ

ตามแผนร่วมกับหน่วยงานในตลาดทุนเพื่อเตรียมพร้อม

รับมือภาวะวิกฤติต่างๆ อย่างจริงจังเป็นประจ�

ำทุกปีโดย

ตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้ให้ความส�

ำคัญในการเตรียมความ

พร้อมของบุคลากร ระบบงาน ทั้งที่อาคารท�

ำการหลัก

และศูนย์ท�

ำการส�

ำรอง และทดสอบการใช้ระบบส�

ำรอง

ร่วมกับบริษัทสมาชิก เพื่อรองรับหากเกิดเหตุการณ์ภัย

พิบัติใดๆ ที่ส่งผลกระทบต่ออาคารท�

ำการหลัก เพื่อให้

สามารถเปิดซื้อขายหลักทรัพย์ได้อย่างต่อเนื่อง นอกจาก

นั้น ในปี 2557 ตลาดหลักทรัพย์ฯ ประสบผลส�

ำเร็จ

จากการน�

ำแผน BCP มาใช้จริง โดยสามารถให้บริการ

ซื้อขายหลักทรัพย์แก่ผู้ลงทุนได้ตลอดช่วงเหตุการณ์

ความไม่สงบ แสดงให้เห็นถึงความพร้อมและศักยภาพ

ของตลาดหลักทรัพย์ไทยที่มีการจัดการด้านความเสี่ยง

ที่ทัดเทียมกับมาตรฐานสากล

• ฝ่ายตรวจสอบภายในพัฒนาคุณภาพงานตรวจสอบ

ภายในอย่างต่อเนื่อง โดยเข้าฝึกอบรมทักษะการตรวจ

สอบภายในโดยทั่วไป และทักษะเฉพาะด้านการตรวจ

สอบระบบคอมพิวเตอร์ เช่น การท�

ำ Web Application

Penetration Testing เป็นต้น โดยมีการอบรมทั้งสิ้นรวม

74 วัน (man-days) รวมทั้งมีการศึกษาดูงานและแลก

เปลี่ยนประสบการณ์งานตรวจสอบภายในกับฝ่ายตรวจ

สอบภายในของ Korea Exchange (KRX) รวม 6 วัน

(man-days)

• ตลาดหลักทรัพย์ฯ ก�

ำหนดให้มีการประเมินคุณภาพ

งานตรวจสอบภายใน (Quality Assessment Review:

QAR) โดยผู้ประเมินอิสระภายนอกทุก 5 ปี ประเมิน

ครั้งล่าสุดในปี 2554 และมีการพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง

ตามข้อเสนอแนะจากการประเมิน รวมทั้งได้ด�

ำเนินการ

ให้มีการประเมินคุณภาพด้วยตนเอง

ในการด�

ำเนินงานบริหารความเสี่ยงนั้น ฝ่ายจัดการจะ

เป็นผู้รับผิดชอบและก�

ำหนดนโยบายในการระบุความเสี่ยง

และประเมินระดับของความเสี่ยงตามเกณฑ์ที่ก�

ำหนดไว้ โดย

ฝ่ายบริหารความเสี่ยง (Risk Management Department)

เป็นหน่วยงานประสานงานและสนับสนุนฝ่ายจัดการในการ

ด�

ำเนินการเพื่อให้เกิดกระบวนการบริหารความเสี่ยงตาม

นโยบายที่ได้รับมอบหมาย โดยสามารถสรุปกรอบการด�

ำเนิน

งานได้ ดังนี้