ั`
น1ี่
1
การระ3Q
4ระVด]
นสLคั|
บรþ
บทด
านความยั่งยืน
การ"ัดลLดั3ค@ามสLคั|
ปรJเด^
นสำคัญด
านความยั่งยืน
การ030@น
การ.ร@"สF3ค@าม
/ูก.Fงความครบ0
วน องรายงานั
`
น1ี่
2ั
`
น1ี่
3ั
`
น1ี่
4
บรþ
บทด
านความยั่งยืน
ค+า%ครอ ค)ุ% =ĕ
%9
.Ĕ
+นE ĕ
เ.9
&
ความครอบคลุม6ู
มีส
วน[ด
เสีย
รายงาน
(G4-19)
(G4-18)
18
ตลาดหลักทรัพย
I เริ่มเปดเผยข
อมูลผลการดd
าเนินงานและทิBทางการพั,นาด
านความยั่งยืนครั`
งแรกในป ผ
าน
Üรา&งาน +า%รั 8
ด 1 Ĕ
1.ัง %Ý
และต
อมาในป ¡ ได
พั,นาเป
น
Üรา&งาน +า%&ัI
ง&;
นÝ
โดยรายงานตามกรอบ
การรายงานสากลของ ²×ÚÍÌ× ½ÐÛÚÝßÔÙÒ ´ÙÔßÔÌßÔáÐ หรือ ²½´ รุ
นที่ เป
นครั`
งแรก นับแต
นั`
นมาตลาดหลักทรัพย
I มุ
งมั่น
พั,นากระบวนการจัดทd
ารายงานให
เป
นไปอย
างถูกต
องและครบถ
วนตามมาตร*านสากล เพื่อให
ผู
มีส
วนได
เสียรับทราบ
อย
างต
อเนื่อง สd
าหรับรายงาน$บับนี`
ตลาดหลักทรัพย
I เปดเผยข
อมูลผลการดd
าเนินงานด
านความยั่งยืนระหว
างวันที่ มกราคม
ธันวาคม £ ทั`
งในรูปแบบเล
มรายงานและเอกสารเผยแพร
ในเว็บไซต
แน+ างการรา&งาน
ปี 2558 ตลาดหลักทรัพย์ฯ จัดท�
า
“รายงานตลาดหลักทรัพย์
เพĚħ
Đåวามยัħ
งยĚ
น”
โดยก�
าหนดเนื้อหาให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์
และตัวชี้วัด ตามกรอบการรายงานสากลของ G4I รุ่นที่ 4
ในระดับความครบถ้วนตามตัวชี้วัดหลัก (%ore)
กระ +นการAกH
ĕ
1%ูลและั J
น 1นการรา&งาน
การเก็บข้อมูลเพื่อน�
ามารายงานมี 2 วิธี ได้แก่ การเก็บข้อมูล
เชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องและหน่วยงานภายใน
องค์กรที่มีภารกิจเกี่ยวข้องกับผู้มีส่วนได้เสียทั้งทางตรงและ
ทางอ้อม รวมถึงการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณจากแหล่งข้อมูล
ที่น่าเชื่อถือและมีหลักการค�
านวณตามมาตรฐาน จากนั้นน�
ามา
เรียบเรียงจัดท�
าร่างรายงานแล้วจึงทวนสอบความถูกต้อง
กลับไปยังหน่วยงานผู้ให้สัมภาษณ์และเจ้าของข้อมูลก่อน
การเผยแพร่ โดยมีขั้นตอนการจัดท�
ารายงาน 4 ขั้นตอน ดังนี้
1 A
1งการรา&งาน
ตลาดหลักทรัพย์ฯ ก�
าหนดขอบเขตการรายงานให้สอดคล้องกับ
ผลการด�
าเนินธุรกิจหลัก โดยค�
านึงถึงบริบทด้านความยั่งยืน
ของตลาดหลักทรัพย์ฯ (sustainability context) และผลกระทบ
ที่มีต่อผู้มีส่วนได้เสีย (stakeholder inclusiveness) จากนั้น
ก�
าหนดเป็นกรอบการพัฒนาตลาดหลักทรัพย์ฯ เพื่อความยั่งยืน
5 ด้าน ได้แก่ การสร้างคุณค่าตลาดทุน การบริหารองค์กร
อย่างยั่งยืน การพัฒนาและดูแลพนักงาน การพัฒนาและดูแลสังคม
และการจัดการสิ่งแวดล้อม
การ ระA%8
น ระAดH
นดĕ
าน +า%&ัI
ง&;
น
จากกรอบการพัฒนาตลาดหลักทรัพย์เพื่อความยั่งยืน ซึ่งครอบคลุม
ถึงบริบทและเชื่อมโยงกับผู้มีส่วนได้เสียของตลาดหลักทรัพย์ฯ
จึงได้มีการวิเคราะห์ประเด็นส�
าคัญ (materiality analysis) เพื่อให้
เนื้อหาของรายงานมีความกระชับและชัดเจนมากยิ่งขึ้น โดยผล
ของการวิเคราะห์ประเด็นความยั่งยืนจะเป็นสาระส�
าคัญของการ
รายงานฉบับนี้ ได้แก่
1. การพัฒนาผู้เกี่ยวข้องในตลาดทุนให้ค�
านึงถึงสิ่งแวดล้อม
สังคม และบรรษัทภิบาล (ESG performance)
2. การก�
ากับดูแลองค์กรอย่างยั่งยืน
(sustainable and performance driven management)
3. การเป็นองค์กรที่คนท�
างานปรารถนา
(employer of choice)
4. การลงทุนเพื่อสังคม (social impact investment)
5. การสร้างความรู้ทางการเงินและการลงทุน
(Ìnancial literacy)
6. การด�
าเนินนโยบายด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
(green policy)
Aก9I
&+กั
รา&งานั น9J
3
www.set.or.thth about annual sdAreportAp1.html