Background Image
Previous Page  116 / 196 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 116 / 196 Next Page
Page Background

116

รายงานประจำ

�ปี 2557

การบริหารความเสี่ยงองค์กร

ตลาดหลักทรัพย์ฯ จัดให้มีการบริหารความเสี่ยงองค์กร โดยครอบคลุมการระบุความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง การกำ

�หนด

แผนการบริหารความเสี่ยง ตลอดจนการติดตามและจัดการความเสี่ยงที่สำ

�คัญในภาพรวม เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าสามารถ

บริหารความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยกรอบการบริหารความเสี่ยงครอบคลุมความเสี่ยงที่สำ

�คัญซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ระดับ

คือ ความเสี่ยงในระดับกลยุทธ์ (Strategic Risk) ความเสี่ยงในระดับธุรกิจ (Business Risk) และความเสี่ยงในระดับกระบวนการ

ปฏิบัติงาน (Process Risk)

ทั้งนี้ ตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้พัฒนาและยกระดับระบบการบริหารความเสี่ยงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้มั่นใจว่า

ตลาดหลักทรัพย์ฯ สามารถบริหารความเสี่ยงในการดำ

�เนินงานได้อย่างเหมาะสม เป็นไปตามนโยบายที่กำ

�หนด และสอดคล้องกับ

มาตรฐานสากล

ความเสี่ยงในระดับกลยุทธ์

ตลาดหลักทรัพย์ฯ ให้ความส�

ำคัญในการบริหารความเสี่ยง

เชิงกลยุทธ์ ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่การพิจารณาก�

ำหนดทิศทาง

ของกรอบกลยุทธ์องค์กรเพื่อน�

ำสู่ปี 2563 และแผนงบประมาณ

ประจ�

ำปี โดยตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้จัดให้มีกระบวนการบริหาร

ความเสี่ยงเชิงกลยุทธ์ อาทิ การประเมินความเสี่ยง ก�

ำหนด

แผนบริหารความเสี่ยง และการด�

ำเนินการติดตามการด�

ำเนินงาน

ตามแผนบริหารความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับเป้าหมายหลักภาย

ใต้แผนกลยุทธ์ในแต่ละด้านซึ่งรวมถึงการออกผลิตภัณฑ์และ

บริการใหม่ นอกจากนี้ ตลาดหลักทรัพย์ฯ ยังให้ความส�

ำคัญกับ

การบริหารความเสี่ยงของการเริ่มใช้ระบบงานช�

ำระราคาและ

ส่งมอบหลักทรัพย์ใหม่ และระบบรับฝากหลักทรัพย์ใหม่ส�

ำหรับ

ตราสารทุน ที่มีก�

ำหนดการเริ่มใช้ในปี 2558 โดยในปี 2557

ตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้พิจารณามาตรการจัดการความเสี่ยงต่างๆ

ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่ามีกระบวนการ ตลอดจน

การเตรียมการที่เหมาะสม

ความเสี่ยงในระดับธุรกิจ

ตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้ดูแลและจัดการความเสี่ยงระดับ

ธุรกิจซึ่งครอบคลุมความเสี่ยงที่สำ

�คัญต่อการดำ

�เนินธุรกิจ

ของตลาดหลักทรัพย์ฯ ซึ่งความเสี่ยงดังกล่าวสอดคล้องกับ

ตลาดหลักทรัพย์ชั้นนำ

� สำ

�หรับความเสี่ยงที่ได้รับการประเมิน

ในระดับความเสี่ยงค่อนข้างสูง ตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้มีการติดตาม

และจัดการความเสี่ยงโดยกำ

�หนดตัวชี้วัดสถานะความเสี่ยง (Key

Risk Indicator: KRI) เพื่อใช้ติดตามและปรับแผนการบริหาร

ความเสี่ยงตามความเหมาะสม ทั้งนี้ ความเสี่ยงที่สำ

�คัญที่จัดอยู่

ในความเสี่ยงในระดับธุรกิจ อาทิ

ความเสี่ยงจากการที่สมาชิกสำ

�นักหักบัญชีไม่ปฏิบัติ

ตามภาระผูกพัน

ในปี 2557 บริษัท ส�

ำนักหักบัญชี (ประเทศไทย) จ�

ำกัด

(Thailand Clearing House Company Limited: TCH) ในฐานะ

ที่เป็น Central Counterparty: CCP ส�

ำหรับตลาดหลักทรัพย์ฯ

และตลาดสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ได้ปรับปรุงหลักเกณฑ์เพื่อ

ยกระดับความเข้มแข็งของส�

ำนักหักบัญชี โดยด�

ำเนินการปรับ

คุณสมบัติของสมาชิกส�

ำนักหักบัญชีที่ท�

ำธุรกรรมด้านหลักทรัพย์

ในส่วนของการก�

ำหนดส่วนของผู้ถือหุ้น (Equity) ขั้นต�่

เพื่อให้สอดคล้ องกับเกณฑ์ของส�

ำนักงานคณะกรรมการ

ก�

ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) นอกจากนี้

ยังได้ปรับปรุงเกณฑ์ ให้สอดคล้ องกับกฎเกณฑ์ ใหม่ของ

ต่างประเทศตลอดจนมาตรฐาน Principle for Financial

Market Infrastructure: PFMI ที่ออกโดย IOSCO (International

Organization of Securities Commissions) รวมถึง

European Markets Infrastructure Regulation (EMIR)

ที่ออกโดย European Securities and Markets Authority:

ESMA อย่างต่อเนื่อง เพื่อเสริมสร้ างความเชื่อมั่นให้กับ

นักลงทุนไทยและต่างประเทศ โดยแนวทางที่ TCH ได้ด�

ำเนิน

การเพิ่มเติมในปีที่ผ่านมาเพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล

สรุปได้ ดังนี้

• การปรับล�

ำดับการใช้เงินกองทุนทดแทนความเสียหาย

(Clearing Fund) โดยจะใช้เงินของตลาดหลักทรัพย์ฯ ส่วน

ที่สมทบเข้ามาในกองทุนทดแทนความเสียหาย (Clearing

Fund) ส่วนหนึ่ง ก่อนจะใช้เงินสมทบของสมาชิกรายอื่นที่

ไม่ใช่ผู้ผิดนัด จากนั้นจึงใช้เงินกองทุนทดแทนความเสียหาย

(Clearing Fund) ในส่วนที่เหลือ

• การทบทวนหลักประกันประเภทต่างๆ โดยค�

ำนึงถึงความ

เสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของราคา (Market Risk) และ