144
รายงานประจำ
�ปี 2557
2.11 การด้อยค่า
สินทรัพย์ที่มีอายุการให้ประโยชน์ไม่ทราบแน่ชัด ซึ่ง
ไม่มีการตัดจ�
ำหน่ายจะถูกทดสอบการด้อยค่าเป็นประจ�
ำทุกปี
สินทรัพย์อื่นที่มีการตัดจ�
ำหน่ายจะมีการทบทวนการด้อยค่า
เมื่อมีเหตุการณ์หรือสถานการณ์บ่งชี้ว่าราคาตามบัญชีอาจ
สูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน รายการขาดทุนจากการ
ด้อยค่าจะรับรู้เมื่อราคาตามบัญชีของสินทรัพย์สูงกว่ามูลค่า
สุทธิที่คาดว่าจะได้รับคืน ซึ่งหมายถึงจ�
ำนวนที่สูงกว่าระหว่าง
มูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายเทียบกับมูลค่าจากการใช้
สินทรัพย์จะถูกจัดเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดที่สามารถแยกออกมา
ได้ เพื่อวัตถุประสงค์ของการประเมินการด้อยค่า สินทรัพย์
ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงินซึ่งรับรู้รายการขาดทุนจากการ
ด้อยค่าไปแล้ว จะถูกประเมินความเป็นไปได้ที่จะกลับรายการ
ขาดทุนจากการด้อยค่า ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน
2.12 หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย
หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยบันทึกเริ่มแรกในมูลค่ายุติธรรม
หักค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการเกิดหนี้สิน ภายหลังจากการบันทึก
หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยจะบันทึกต่อมาโดยวิธีราคาทุนตัด
จ�
ำหน่าย ผลต่างระหว่างยอดหนี้เริ่มแรกและยอดหนี้เมื่อครบ
ก�
ำหนดไถ่ถอนจะบันทึกในงบรายได้และค่าใช้จ่ายเบ็ดเสร็จ
ตลอดอายุการกู้ยืมโดยใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง
2.13 เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น
เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นแสดงในราคาทุน
2.14 ผลประโยชน์พนักงาน
โครงการสมทบเงิน
กลุ่มกิจการได้จัดตั้งกองทุนส�
ำรองเลี้ยงชีพ โดยใช้
แผนการก�
ำหนดอัตราการจ่ายสมทบ โดยที่สินทรัพย์ของ
กองทุนได้แยกออกจากสินทรัพย์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ และ
บริหารโดยผู้จัดการกองทุน กองทุนส�
ำรองเลี้ยงชีพดังกล่าว
ได้รับเงินสมทบเข้ากองทุนจากพนักงานและกลุ่มกิจการ
เงินจ่ายสมทบเข้ากองทุนส�
ำรองเลี้ยงชีพบันทึกเป็นค่าใช้จ่าย
ในงบรายได้และค่าใช้จ่ายเบ็ดเสร็จ
โครงการผลประโยชน์
กลุ่มกิจการจัดให้มีผลประโยชน์พนักงานเมื่อเกษียณ
อายุเพื่อจ่ ายให้แก่พนักงานตามกฎหมายแรงงานของ
ประเทศไทย หนี้สินผลประโยชน์พนักงานค�
ำนวณโดย
ผู้ช�
ำนาญทางสถิติอิสระโดยใช้วิธี Corridor Approach ตาม
เกณฑ์คณิตศาสตร์ประกันภัย (Actuarial Technique)
อันเป็นการประมาณการจากมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสด
ที่คาดว่าจะต้องจ่ายในอนาคตและค�
ำนวณคิดลดโดยใช้
อัตราดอกเบี้ยของพันธบัตรรัฐบาลที่มีก�
ำหนดเวลาใกล้เคียง
กับระยะเวลาของหนี้สินดังกล่ าว โดยประมาณการ
กระแสเงินสดที่คาดว่าจะต้องจ่ายในอนาคตนั้นประมาณการ
จากเงินเดือนพนักงาน อัตราการลาออก อัตราการตาย
อายุงาน และปัจจัยอื่น ก�
ำไรหรือขาดทุนจากการเปลี่ยนแปลง
ประมาณการจะรับรู้เป็นรายได้หรือค่าใช้จ่ายในงบรายได้และ
ค่าใช้จ่ายเบ็ดเสร็จหากมูลค่าสะสมสุทธิของก�
ำไรและขาดทุน
จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยที่
ยังไม่ได้รับรู้เมื่อวันสิ้นสุดของงวดก่อนเกินกว่าจ�
ำนวนที่
มากกว่าระหว่างร้อยละ 10 ของมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพัน
ตามโครงการผลประโยชน์ ณ วันนั้น (ก่อนหักสินทรัพย์
โครงการ) และร้อยละ 10 ของมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์
โครงการ ณ วันนั้น
ในทุกปีกลุ่มกิจการจะมีการทบทวนอัตราคิดลดที่
เหมาะสมซึ่งสะท้อนถึงอัตราดอกเบี้ยที่ควรน�
ำมาใช้ ใน
การค�
ำนวณมูลค่าปัจจุบันสุทธิของกระแสเงินสดจ่ายใน
อนาคตที่คาดว่าจะต้องจ่ายให้กับพนักงาน
ค่าตอบแทนการเลิกจ้างก่อนก�
ำหนด
ค่าตอบแทนการเลิกจ้างก่อนก�
ำหนดคือ หนี้สินที่ต้อง
จ่ายเมื่อมีการสิ้นสุดการจ้างงานโดยกลุ่มกิจการก่อนวัน
เกษียณอายุปกติ หรือเมื่อมีการเสนอให้มีการเลิกจ้างงานโดย
ให้พนักงานออกจากงานอย่างเต็มใจเพื่อแลกกับผลประโยชน์
กลุ่มกิจการจะรับรู้ค่าตอบแทนการเลิกจ้างก่อนก�
ำหนด เมื่อ
มีภาระผูกพันที่จะต้องสิ้นสุดการจ้างงานของพนักงานใน
ปัจจุบันตามแผนที่วางไว้ หรือมีการเสนอให้มีการเลิกจ้างงาน
โดยให้พนักงานออกจากงานอย่างเต็มใจ
2.15 ประมาณการหนี้สิน
การประมาณการหนี้สินจะรับรู้ก็ต่อเมื่อกลุ่มกิจการมี
ภาระหนี้สินตามกฎหมายที่เกิดขึ้นในปัจจุบันหรือที่ก่อตัว
ขึ้นอันเป็นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีต และมีความเป็นไปได้
ค่อนข้างแน่นอนว่าประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจะต้องถูกจ่ายไป
เพื่อช�
ำระภาระหนี้สินดังกล่าว และสามารถประมาณจ�
ำนวน
ภาระหนี้สินได้อย่างน่าเชื่อถือ ถ้าผลกระทบดังกล่าวมีจ�
ำนวน
ที่เป็นสาระส�
ำคัญ ประมาณการหนี้สินพิจารณาจากการคิดลด
กระแสเงินสดที่จะจ่ายในอนาคตโดยใช้อัตราคิดลดในตลาด
ปัจจุบันก่อนภาษีเงินได้ เพื่อให้สะท้อนจ�
ำนวนที่อาจประเมิน
ได้ในตลาดปัจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อ
หนี้สิน เมื่อได้จ่ายช�
ำระประมาณการหนี้สินไปแล้ว หากแน่ใจ