ช่วยเพิ่มอุปสงค์ของหุ้น และอาจส่งผลให้ราคาหุ้นปรับตัวสูงขึ้น | |
เป็นการลดจำนวนหุ้นที่หมุนเวียนซื้อขายในตลาด ซึ่งส่งผลให้กำไรสุทธิต่อหุ้นสูงขึ้น | |
ใช้เป็นเครื่องมือทางการเงินในการบริหารสภาพคล่องส่วนเกินของบริษัทให้เกิดประสิทธิผล | |
เป็นโอกาสที่จะสร้างผลตอบแทนจากการลงทุน หากผู้บริหารของบริษัทมั่นใจในผลการดำเนินงาน และเห็นว่าราคาหุ้นต่ำกว่ามูลค่าพื้นฐานของกิจการอย่างมีนัยสำคัญ การซื้อหุ้นคืนและขายกลับในจังหวะเวลาที่เหมาะสมจะสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับส่วนของผู้ถือหุ้น โดยบันทึกผลต่างของราคาเป็นส่วนเกินมูลค่าหุ้นซื้อคืนซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของส่วนของผู้ถือหุ้น |
กำไรต่อหุ้น (EPS) และอัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (ROE) สูงขึ้น เนื่องจากหุ้นที่ถูกซื้อคืน จะไม่ถูกนำมาคำนวณกำไรต่อหุ้น | |
มีโอกาสได้รับเงินปันผลต่อหุ้นสูงขึ้น | |
มีโอกาสที่ราคาหุ้นจะปรับตัวสูงขึ้น ในระดับที่ P/E เท่าเดิม |
กรณีเพื่อบริหารทางการเงิน | ||
เมื่อบริษัทมีกำไรสะสมและสภาพคล่องส่วนเกิน |
กรณีผู้ถือหุ้นไม่เห็นด้วยกับมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น | ||
ที่แก้ไขข้อบังคับบริษัทเกี่ยวกับสิทธิในการออกเสียงลงคะแนน หรือสิทธิในการรับเงินปันผล |
1. | มีข้อบังคับบริษัทให้สามารถซื้อหุ้นคืนได้
|
2. | มีกำไรสะสมตามงบการเงินเฉพาะกิจการ โดยวงเงินซื้อคืนได้ไม่เกินกำไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรรของบริษัท และต้องกันไว้จนกว่าจะมีการจำหน่ายหุ้นซื้อคืนหมดหรือเมื่อลดทุนชำระหุ้นที่ซื้อคืนที่จำหน่ายไม่หมด |
3. | มีสภาพคล่องส่วนเกิน โดยพิจารณาจากความสามารถในการชำระหนี้ภายใน 6 เดือนข้างหน้านับแต่วันเริ่มซื้อหุ้น หากซื้อหุ้นคืนแล้วไม่กระทบการชำระหนี้ของบริษัท |
4. | ต้องไม่ทำให้สัดส่วนการกระจายการถือหุ้นรายย่อย (Free Float) ต่ำกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำที่ตลาดหลักทรัพย์กำหนด คือไม่ต่ำกว่า 15% ของทุนชำระและหากมีรายย่อยน้อยกว่า 150 ราย ก็ไม่สามารถซื้อหุ้นคืนได้เช่นกัน |
การซื้อหุ้นคืนในแต่ละกรณี มีดังนี้ | |
1. | การซื้อหุ้นคืนกรณีผู้ถือหุ้นไม่เห็นด้วยกับมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นเกี่ยวกับการแก้ไขข้อบังคับเรื่องสิทธิในการลงคะแนนและการรับเงินปันผล ให้บริษัทรับซื้อเป็นการทั่วไป (General Offer : GO) |
2. | การซื้อหุ้นคืนกรณีเพื่อการบริหารทางการเงิน มี 2 วิธี
|
|
1. | เมื่อคณะกรรมการบริษัทมีมติซื้อหุ้นคืนในวันที่ T |
กรณีผู้ถือหุ้นออกเสียงไม่เห็นด้วยฯ | กรณีการบริหารทางการเงิน | ||
1. | ระยะเวลาที่ต้องเปิดเผยมติ
| 1. | ระยะเวลาที่ต้องเปิดเผยมติ
|
2. | ข้อมูลที่ต้องเปิดเผย (แบบ TS-1.1)
| 2. | ข้อมูลที่ต้องเปิดเผย (แบบ TS-1.2)
|
2. | การรายงานผลการซื้อหุ้นคืน |
กรณีซื้อหุ้นคืนเมื่อผู้ถือหุ้นไม่เห็นด้วยฯ และกรณีเสนอซื้อเป็นการทั่วไป | กรณีซื้อหุ้นคืนผ่านตลาดหลักทรัพย์ | ||
1. | ระยะเวลาที่ต้องเปิดเผย
| 1. | ระยะเวลาที่ต้องเปิดเผย
|
2. | ข้อมูลที่ต้องเปิดเผย (แบบ TS-3.1)
| 2. | ข้อมูลที่ต้องเปิดเผย (แบบ TS-3.2)
|
3. | เมื่อคณะกรรมการบริษัทมีมติขายหุ้นที่ซื้อคืนวันที่ T |
ทุกกรณี | ||
1. | ระยะเวลาที่ต้องเปิดเผย
| |
2. | ข้อมูลที่ต้องเปิดเผย (แบบ TS-7)
|
กรณีขายหุ้นซื้อคืนแบบ RO ให้ดำเนินการเช่นเดียวกับกรณีเสนอขายหุ้นเพิ่มทุนแบบ RO กล่าวคือ บริษัทจดทะเบียนเปิดเผยวันให้สิทธิจองซื้อหุ้นแก่ผู้ถือหุ้นเดิม ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 14 วัน รวมถึงส่งหนังสือแจ้งสิทธิเป็นการล่วงหน้า > 5 วันทำการ และกำหนดระยะเวลาการจองซื้อ > 5 วันทำการ เป็นต้น
4. | การรายงานผลการขายหุ้นที่ซื้อคืน |
กรณีขายแบบ PO, RO, ESOP | กรณีขายหุ้นที่ซื้อคืนผ่านตลาดหลักทรัพย์ | ||
1. | ระยะเวลาที่ต้องเปิดเผย
| 1. | ระยะเวลาที่ต้องเปิดเผย
|
2. | ข้อมูลที่ต้องเปิดเผย
| 2. | ข้อมูลที่ต้องเปิดเผย (แบบ TS-4)
|
5. | คณะกรรมการมีมติตัดหุ้นที่ซื้อคืนและลดทุนในวันที่ T |
ทุกกรณี | ||
1. | ระยะเวลาที่ต้องเปิดเผย
| |
2. | ข้อมูลที่ต้องเปิดเผย (แบบ TS-5)
|
6. | บริษัทดำเนินการจดทะเบียนลดทุนกับกระทรวงพาณิชย์แล้วเสร็จ |
ทุกกรณี | ||
1. | ข้อมูลที่ต้องเปิดเผย (แบบ TS-6) ภายใน 3 วันทำการหลังจดทะเบียนลดทุน
|
บริษัทเริ่มโครงการซื้อหุ้นคืนครั้งใหม่ได้เมื่อพ้น 6 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดโครงการซื้อหุ้นคืนครั้งหลังสุด |
Note : | - กรณีแก้ไขหรือยกเลิกการซื้อหุ้นคืน บริษัทต้องเปิดเผยข้อมูลล่วงหน้า ≥ 3 วัน ก่อนการแก้ไขมีผล - AOM (Automatic Order Matching) คือ ซื้อด้วยวิธีจับคู่อัตโนมัติผ่านระบบการซื้อขายของ ตลท. |
Note : | - กรณีแก้ไขวิธีการจำหน่ายหุ้นซื้อคืน บริษัทต้องเปิดเผยข้อมูลล่วงหน้า ≥ 3 วัน ก่อนการแก้ไขมีผล - การเสนอขายวิธี ESOP และ PO ต้องปฎิบัติตามกฏเกณฑ์ของสำนักงาน ก.ล.ต. |
|
|
|
|
แบบรายงานการเปิดเผยการซื้อหุ้นคืน ซึ่งประกอบด้วย |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|