การลดจำนวนหุ้น |
การลดมูลค่าหุ้นที่ตราไว้ (ลด par) |
เพื่อบริหารเงินทุนให้มีประสิทธิภาพ ทำให้อัตราส่วนทางการเงินดีขึ้น เช่น ROE ROA และ Total Asset Turnover เป็นต้น |
เพื่อรองรับการจ่ายเงินปันผลในอนาคต ซึ่งตามกฎหมายห้ามไม่ให้จ่ายเงินปันผลกรณีบริษัทยังมีขาดทุนสะสม และผลการดำเนินงานปัจจุบันไม่สามารถล้างผลขาดทุนได้เพียงพอที่จะพลิกให้เป็นกำไรสะสมจนสามารถจ่ายเงินปันผลได้ การลดทุนจึงเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ช่วยให้บริษัทสามารถจ่ายเงินปันผลได้เร็วขึ้น โดยไม่ต้องรอผลการดำเนินงานปัจจุบัน |
เพื่อรองรับการเพิ่มทุนของผู้ลงทุนรายใหม่ที่สามารถลงทุนในราคาที่สะท้อนมูลค่ากิจการมากขึ้น |
โอกาสได้รับผลตอบแทนจากการลงทุนสูงขึ้น กรณีลดทุนเพื่อปรับ โดรงสร้างทุน |
โอกาสได้รับเงินปันผลเร็วขึ้น กรณีลดทุนเพื่อล้างขาดทุนสะสม |
รูปแบบการลดทุน |
วัตถุประสงค์ |
การเปิดเผยข้อมูล |
กรณีลด Par | กรณีลดจำนวนหุ้น |
- Par ก่อนและหลังการลดทุน - จำนวนเงินทุนทั้งหมดที่ลด - วัตถุประสงค์ของการลดทุน | - ผู้ถือหุ้นที่ถูกลดทุน (กรณีเป็นผู้ถือหุ้นบางรายให้ระบุรายละเอียดของผู้ถือหุ้นรายดังกล่าว) - จำนวนหุ้นที่ถูกลด - วัตถุประสงค์ของการลดทุน - วันกำหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่ถูกลดทุน - อัตราส่วนการลดทุน (หุ้นเดิม:หุ้นหลังลดทุน)* |
กรณีเป็นการลดทุนเพื่อคืนทุนให้ผู้ถือหุ้นต้องแจ้งข้อมูลเพิ่ม - จำนวนเงินคืนทุนให้ผู้ถือหุ้น - วันกำหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่ถูกลดทุนและมีสิทธิได้รับการคืนทุน - วันชำระเงินคืนทุน |
หมายเหตุ
*ต้องระบุให้ชัดเจนเกี่ยวกับการดำเนินการเมื่อการคำนวณตามอัตราส่วนการลดทุนทำให้มีเศษหุ้น เช่น “...เมื่อคำนวณการลดทุนของผู้ถือหุ้นแต่ละรายเสร็จสิ้น และผู้ถือหุ้นมีเศษหุ้นคงเหลือเป็นหลักจุดทศนิยม ก็จะต้องพิจารณาปัดเศษขึ้นหรือลงตามสัดส่วน กล่าวคือ เศษหุ้นที่มีค่าตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไปจะปัดขึ้นเป็นหุ้นอีก 1 หุ้น หากเศษหุ้นมีค่าต่ำกว่า 0.5 ก็จะตัดออก และเมื่อคำนวณการลดทุนทั้งหมดเสร็จสิ้น และมีหุ้นขาดหรือเกินกว่าจำนวน .........หุ้น ก็จะตัดหรือเพิ่มจำนวนหุ้นที่กรรมการบริหารของบริษัทต่อไป”
การแจ้งมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น |
การแจ้งผลการคัดค้านของเจ้าหนี้ |
การจดทะเบียนลดทุน |
การดำเนินการเพิ่มเติมเมื่อลดทุนโดยลดจำนวนหุ้น |
|
|
|
|
|
|