General Mandate
การเพิ่มทุนแบบมอบอำนาจทั่วไป
เป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการเพิ่มทุนโดยขออนุมัติจำนวนหุ้นและประเภทจัดสรรจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นไว้ล่วงหน้า และมอบอำนาจให้คณะกรรมการบริษัท พิจารณาออกและ
จัดสรรหุ้นเพิ่มทุนในแต่ละคราวตามความเหมาะสม โดยเมื่อคณะกรรมการบริษัทจะจัดสรรหุ้นในแต่ละคราวจะต้องเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมให้ครบถ้วนตามเกณฑ์
ประโยชน์ในการเพิ่มทุนแบบมอบอำนาจทั่วไป
เพิ่มความคล่องตัว รวดเร็วในการระดมทุน ทันต่อภาวะตลาดหุ้นและปัจจัยแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว | |
ลดขั้นตอนและระยะเวลาดำเนินการได้ 4-10 สัปดาห์ เนื่องจากไม่ต้องจัดประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อขออนุมัติเพิ่มทุน | |
ลดภาระค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อขออนุมัติเพิ่มทุนทุกครั้งที่ต้องการระดมทุน | |
เพิ่มทางเลือกของการระดมทุน |
บริษัทมีเงินทุนหมุนเวียน ทันต่อความต้องการและสภาวะการณ์ที่เหมาะสม สร้างผลตอบแทนให้ผู้ถือหุ้น | |
ได้รับความคุ้มครองอย่างเพียงพอ เนื่องจากมีเกณฑ์กำหนดเงื่อนไขการเพิ่มทุนแบบ General Mandate | |
สามารถประมาณการณ์ Dilution Effectที่อาจเกิดขึ้นได้ในระยะสั้น |
เงื่อนไขการเพิ่มทุน General Mandate
RO | PPO | PO | PP | |
จำนวนหุ้น คิดเป็นสัดส่วนของทุน ชำระแล้ว ณ วันที่คณะกรรมการบริษัทมีมติเพิ่มทุนแบบ General Mandate | ไม่เกิน 30% | ไม่เกิน 20% | ไม่เกิน 10% | |
เรียกชำระหุ้นเพิ่มทุนรวมได้ไม่เกิน 30% โดยเป็น PO and PP ได้ไม่เกิน 20% | ||||
ราคาเสนอขาย | ไม่กำหนด | ไม่เข้าข่ายเป็นราคาต่ำ (ตามเกณฑ์ ก.ล.ต.) | ||
ระยะเวลาจัดสรร | ถึงวันที่บริษัทจัดประชุม AGM ครั้งถัดไปหรือวันที่กฎหมายกำหนดให้จัดประชุม AGM ครั้งถัดไปแล้วแต่วันใดจะถึงก่อน | |||
ประเภทหลักทรัพย์ | หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ TSR* | หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ |
* TSR (Transferable Subscription Rights) คือ ใบแสดงสิทธิในการซื้อหุ้นเพิ่มทุนที่โอนสิทธิได้
ขั้นตอนดำเนินการที่สำคัญ
ข้อมูลที่ต้องเปิดเผยในแบบรายงานการเพิ่มทุน
หมายเหตุ |
ต้องเปิดเผย |
เปิดเผย (ถ้ามี) |
ยังไม่ต้องเปิดเผย |
เกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
|
|
|
|
|
ข้อควรพิจารณา