ESOP: Employee Stock Option Program
การเสนอขายหลักทรัพย์ต่อกรรมการหรือพนักงาน
ประโยชน์ของ ESOP
สร้างแรงจูงใจหรือเสริมสร้างกำลังใจให้กรรมการหรือพนักงาน ร่วมทำงานให้บริษัทอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการมีส่วนร่วมเป็น เจ้าของกิจการ หรือเป็นผลตอบแทนในการทำงาน | |
เพิ่มผลผลิตและผลกำไรให้กับกิจการอย่างมีประสิทธิภาพ | |
สร้างการเติบโตอย่างมั่นคงให้กับกิจการ |
สร้างผลตอบแทนผู้ถือหุ้นอย่างมั่นคงในระยะยาว ตามการเติบโตของกิจการ |
ความแตกต่างระหว่าง ESOP และ EJIP
ESOP | EJIP | |
การอนุมัติเริ่มโครงการ | คณะกรรมการเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นอนุมัติตามเงื่อนไขที่ ก.ล.ต. ประกาศกำหนด | คณะกรรมการอนุมัติให้เริ่มโครงการได้ ยกเว้นกรณี ให้กรรมการร่วมโครงการต้องได้มติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น |
รูปแบบผลตอบแทน | หุ้น หรือ ใบสำคัญแสดงสิทธิของบริษัท กำไรจากส่วนต่างของราคาหุ้นและเงินปันผล (ถ้ามี) | เงินสมทบเพื่อซื้อหุ้นของบริษัท กำไรจากส่วนต่างของราคาหุ้นและเงินปันผล (ถ้ามี) |
ผลกระทบต่อผู้ถือหุ้น | อาจมี Dilution Effect | ไม่มี Dilution Effect อาจกระทบกำไรบริษัทแต่ในระยะยาวอาจชดเชยได้ด้วยประสิทธิภาพ การทำงานที่ดีขึ้นซึ่งจะส่งผลให้ราคาหลักทรัพย์ มีเสถียรภาพมากขึ้น |
การขายหลักทรัพย์ | ตามระยะเวลาที่กำหนดในโครงการ |
ภาระภาษี
ขั้นตอนดำเนินการที่สำคัญ
แจ้งมติต่อ ตลท. และเปิดเผยทันทีหรืออย่างช้าไม่เกิน 9:00 น.
ของวันทำการถัดไป (แบบรายงานการเพิ่มทุน F53-4)
แจ้งมติต่อ ตลท. และเปิดเผยทันทีหรืออย่างช้า
ไม่เกิน 9:00 น.
ของวันทำการถัดไป (แบบรายงานการเพิ่มทุน F53-4)
ไม่มีผู้ถือหุ้นคัดค้าน > 10% ของจำนวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้น
ที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง
1. จะต้องไม่มีผู้ถือหุ้นคัดค้าน > 5% ของจำนวนเสียงทั้งหมดของผู้
ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง
2. หากมีการจัดสรรแบบกระจุกตัวจะต้องได้รับมติอนุมัติจากผู้ถือ
หุ้นสำหรับแต่ละราย ≥ 3/4 ของจำนวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้น
ที่มาประชุม และมีสิทธิออกเสียง และไม่มีผู้ถือหุ้นคัดค้าน > 5%
ของจำนวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออก
เสียง รวมทั้งผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการพิจารณา
ค่าตอบแทน
ไม่มีผู้ถือหุ้นคัดค้าน > 10% ของจำนวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง
1. จะต้องไม่มีผู้ถือหุ้นคัดค้าน > 5% ของจำนวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง
2. หากมีการจัดสรรแบบกระจุกตัวจะต้องได้รับมติอนุมัติจากผู้ถือหุ้นสำหรับแต่ละราย ≥ 3/4 ของจำนวน
เสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นที่มาประชุม และมีสิทธิออกเสียง และไม่มีผู้ถือหุ้นคัดค้าน > 5% ของจำนวนเสียง
ทั้งหมดของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง รวมทั้งผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
พิจารณาค่าตอบแทน
จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุน ≤ 14 วัน นับตั้งแต่วันที่ที่ประชุมมีมติ
≤ 30 วัน นับแต่วันปิดการเสนอขาย
≤ 30 วัน นับแต่วันปิดการเสนอขาย
≤ 2 วันทำการ นับจากประกาศสั่งรับ
≤ 2 วันทำการ นับจากประกาศสั่งรับ
≤ 30 วัน ของทุก 6 เดือนตามปฏิทิน
≤ 30 วัน ของทุก 6 เดือนตามปฏิทิน
|
|
ลักษณะโครงการ ESOP
กรณีทั่วไป คือ กรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้
กรณีพิเศษ
เสนอขาย > 5% ของจํานวนหุ้นที่ชําระแล้ว ณ วันที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นอนุมัติ ESOP
และราคาเสนอ ขาย ESOP ตํ่ากว่าตลาดเกินกว่า 10%
ลักษณะการจัดสรรแบบกระจุกตัว
เสนอขายให้รายใดรายหนึ่ง > 5% ของจํานวนที่เสนอขายในครั้งนี้
ผลกระทบต่อผู้ถือหุ้นเดิม
ผลกระทบ Dilution Effect ต่อผู้ถือหุ้นเดิมจากการออก ESOP เนื่องจากมีการเพิ่มทุน
ผลกระทบต่อผู้ถือหุ้นเดิม
ผลกระทบ Dilution Effect ต่อผู้ถือหุ้นเดิมจากการออก
ESOP เนื่องจากมีการเพิ่มทุน
ระยะเวลาเสนอขาย
ต้องเสนอขายหลักทรัพย์ให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี หลังได้รับมติอนุมัติ
จากที่ประชุมผู้ถือหุ้นและอายุใบสําคัญแสดงสิทธิต้องไม่เกิน 5 ปี
การได้รับอนุญาต
การได้รับอนุญาต
ได้รับอนุญาตเป็นการทั่วไป โดยไม่ต้องยื่นคําขออนุญาตเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่
กรณี ESOP ต่อสํานักงาน ก.ล.ต. แต่ต้องปฏิบัติ ตามเงื่อนไข ได้แก่
การพิจารณาผลกระทบงบการเงิน
พิจารณาโดยนํามาตรฐานการรายงานทางการเงิน
ฉบับที่ 2 เรื่อง การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์
(TFRS2 : Share Based Payment)
กรณีบริษัทประกันชีวิต ESOP
กรณีบริษัทประกันชีวิต ESOP ให้รวมถึงตัวแทนประกันชีวิต ที่ได้รับใบอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยประกันชีวิต ของบริษัทที่เสนอขาย ESOP