บริษัทสามารถเข้าจดทะเบียนและสร้างการเติบโตให้กับธุรกิจได้
ไม่ว่าจะเป็น Startups SMEs หรือกิจการขนาดกลาง-ใหญ่
เตรียมความพร้อมก่อนจดทะเบียน
บริษัทจะสามารถระดมทุนจากการเสนอขายหุ้นให้ประชาชน (Initial Public Offering: IPO) และเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้
บริษัทต้องเตรียมความพร้อมในหลายด้าน และต้องดำเนินการตามกฎหมายข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
|
|
|
|
|
ไม่ว่าจะเป็นบริษัทขนาดใดเป็น Startup SMEs หรือจะเป็นกิจการ ขนาดใหญ่ก็สามารถ เข้าจดทะเบียนและสร้างการเติบโตให้กับธุรกิจได้
เตรียมความพร้อมก่อนจดทะเบียน
การที่บริษัทจะสามารถระดมทุนจากการเสนอขายหุ้นให้ประชาชน (Initial public offering: IPO)และเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯได้บริษัทต้องมีการ เตรียมความพร้อมในหลายด้าน และต้องดำเนินการตามกฎหมายข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง ซึ่งสรุปเรื่องสำคัญที่บริษัทต้องเตรียมความพร้อม ก่อนเสนอขายหุ้น ต่อประชาชนและเข้าจดทะเบียน ดังนี้
|
|
|
|
|
ผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าจดทะเบียน
ที่ปรึกษาทางการเงิน (Financial Advisor)
ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์ บริษัทที่ประกอบธุรกิจในการเป็นที่ปรึกษาทางการเงินที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ในการยื่นคำขอเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยที่ปรึกษาทางการเงินมีหน้าที่สำคัญ ดังนี้
ศึกษาข้อมูลของผู้ยื่นคำขอฯ โดยใช้ความรู้ ความสามารถ และความระมัดระวังอย่างเพียงพอเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ | |
ให้คำปรึกษาและแนะนำในการเตรียมความพร้อม และร่วมแก้ไขประเด็นปัญหาของผู้ยื่นคำขอฯ | |
จัดทำเอกสารในการยื่นคำขอฯ รับรองว่าผู้ยื่นคำขอฯ ได้เปิดเผยข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน และมีคุณสมบัติครบถ้วน เหมาะสมที่จะเข้าจดทะเบียน | |
ให้คำแนะนำในการปฏิบัติตามข้อบังคับกฎเกณฑ์ในการเป็นบริษัทจดทะเบียน และติดตามดูแลการดำเนินงานและผลประกอบการของผู้ยื่นคำขอต่อเนื่องไปอีก 1 ปีนับจากวันที่เข้าจดทะเบียน |
ทำ Due Diligence เพื่อตรวจสอบว่าผู้ยื่นคำขอฯ ไม่มี ประเด็นปัญหาในเรื่อง สำคัญ ได้แก่ โครงสร้างการถือหุ้นการทำรายการระหว่างกันระบบการควบคุม ภายใน และงบการเงิน เป็นต้นซึ่งเป็นประเด็นปัญหา ที่พบ บ่อยครั้งและต้องใช้ ระยะเวลานานในการแก้ไข | |
ให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ยื่นคำขอถึงหน้าที่ความรับผิดชอบตามกฎหมายในการ เป็นบริษัทจดทะเบียน | |
ประสานงานและทำงานร่วมกับผู้เกี่ยวข้องอื่นเพื่อให้การเข้าจดทะเบียนเป็นไป ตามแผนที่วางไว้ เช่น ผู้สอบบัญชี ผู้ตรวจสอบภายใน เป็นต้น |
ผู้สอบบัญชี
(Auditor)
ต้องเป็นผู้สอบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักงาน ก.ล.ต. ผู้สอบบัญชีมีหน้าที่ให้คำปรึกษา ตรวจสอบและรับรองการรายงานข้อมูลทางการเงินของบริษัท ให้ถูกต้องและเป็นไปตามมาตรฐานบัญชี
ผู้ตรวจสอบภายใน
(Internal Auditor)
เป็นผู้ประเมินความเพียงพอและเหมาะสมของระบบการควบคุมภายในของบริษัทอย่างเป็นอิสระ ให้คำแนะนำในการปรับปรุง ติดตามผลการนำไปปฏิบัติ และรายงานผลการตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอ รวมถึงมีส่วนร่วมในการพัฒนา ระบบควบคุมภายในอย่างต่อเนื่อง
คณะกรรมการตรวจสอบ
(Audit Committee)
คณะกรรมการตรวจสอบต้องมีคุณสมบัติและองค์ประกอบพร้อมทั้งหน้าที่ความรับผิดชอบ ดังนี้
คุณสมบัติและองค์ประกอบ
1. ประกอบด้วยคณะกรรมการบริษัทอย่างน้อย 3 คน
โดยที่อย่างน้อย 1 คน ต้องมีความรู้ด้านบัญชี/การเงิน
2. แต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริษัทหรือผู้ถือหุ้น
3. เป็นกรรมการที่ไม่ใช่กรรมการบริหาร/ผู้บริหาร พนักงานหรือที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือนประจำจากบริษัท
4. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 1 โดยให้นับรวมหุ้นที่ถือโดยผู้ที่เกี่ยวข้องด้วย
5. ไม่มีผลประโยชน์หรือส่วนได้เสียทั้งด้านการเงินหรือการบริหารงานกับบริษัท
หน้าที่ความรับผิดชอบ
1. คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่รับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษัทตามขอบเขตหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2. ขอบเขตการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบ
ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์ บริษัทที่ประกอบธุรกิจในการเป็นที่ปรึกษาทางการเงินที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ในการยื่นคำขอเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยที่ปรึกษาทางการเงินมีหน้าที่สำคัญ ดังนี้
ศึกษาข้อมูลของผู้ยื่นคำขอฯ โดยใช้ความรู้ ความสามารถ และความระมัดระวัง อย่างเพียงพอเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ | |
ให้คำปรึกษาและแนะนำในการเตรียมความพร้อม และร่วมแก้ไขประเด็นปัญหา ของผู้ยื่นคำขอฯ | |
จัดทำเอกสารในการยื่นคำขอฯ รับรองว่าผู้ยื่นคำขอฯ ได้เปิดเผยข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน และมีคุณสมบัติครบถ้วน เหมาะสมที่จะเข้าจดทะเบียน | |
ให้คำแนะนำในการปฏิบัติตามข้อบังคับกฎเกณฑ์ในการเป็นบริษัทจดทะเบียน และติดตามดูแลการดำเนินงานและผลประกอบการของผู้ยื่นคำขอต่อเนื่อง ไปอีก 1 ปีนับจากวันที่เข้าจดทะเบียน |
ทำ Due Diligence เพื่อตรวจสอบว่าผู้ยื่นคำขอฯ ไม่มี ประเด็นปัญหาในเรื่อง สำคัญ ได้แก่ โครงสร้างการถือหุ้นการทำรายการระหว่างกันระบบการควบคุม ภายใน และงบการเงิน เป็นต้นซึ่งเป็นประเด็นปัญหา ที่พบ บ่อยครั้งและต้องใช้ ระยะเวลานานในการแก้ไข | |
ให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ยื่นคำขอถึงหน้าที่ความรับผิดชอบตามกฎหมายในการ เป็นบริษัทจดทะเบียน | |
ประสานงานและทำงานร่วมกับผู้เกี่ยวข้องอื่นเพื่อให้การเข้าจดทะเบียนเป็นไป ตามแผนที่วางไว้ เช่น ผู้สอบบัญชี ผู้ตรวจสอบภายในตลาดหลักทรัพย์ฯ เป็นต้น |
ผู้สอบบัญชี
(Auditor)
ต้องเป็นผู้สอบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักงาน ก.ล.ต. ผู้สอบบัญชีมีหน้าที่ให้คำปรึกษา ตรวจสอบและรับรองการรายงานข้อมูลทางการเงินของบริษัท ให้ถูกต้องและเป็นไปตามมาตรฐานบัญชี
ผู้ตรวจสอบภายใน
(Internal Auditor)
เป็นผู้ประเมินความเพียงพอและเหมาะสมของระบบการควบคุมภายในของบริษัทอย่างเป็นอิสระ ให้คำแนะนำในการปรับปรุง ติดตามผลการนำไปปฏิบัติ และรายงานผลการตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอ รวมถึงมีส่วนร่วมในการพัฒนา ระบบควบคุมภายในอย่างต่อเนื่อง
คณะกรรมการตรวจสอบ
(Audit Committee)
คณะกรรมการตรวจสอบต้องมีคุณสมบัติและองค์ประกอบพร้อมทั้งหน้าที่ความรับผิดชอบ ดังนี้
คุณสมบัติและองค์ประกอบ
1. ประกอบด้วยคณะกรรมการบริษัทอย่างน้อย 3 คนโดยที่อย่างน้อย 1 คน ต้องมีความรู้ด้านบัญชี/การเงิน
2. แต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริษัทหรือผู้ถือหุ้น
3. เป็นกรรมการที่ไม่ใช่กรรมการบริหาร/ผู้บริหาร พนักงานหรือที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือนประจำจากบริษัท
4. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 1 โดยให้นับรวมหุ้นที่ถือโดยผู้ที่เกี่ยวข้องด้วย
5. ไม่มีผลประโยชน์หรือส่วนได้เสียทั้งด้านการเงินหรือการบริหารงานกับบริษัท
หน้าที่ความรับผิดชอบ
1. คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่รับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษัทตามขอบเขตหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2. ขอบเขตการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบ
หน้าที่ความรับผิดชอบ
1. คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่รับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษัทตามขอบเขตหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2. ขอบเขตการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบ
ผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ ในการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าจดทะเบียน
ขั้นตอนการเข้าจดทะเบียน
การเตรียมตัวและระยะเวลาเตรียมการ |
ตรวจสอบธุรกิจ
ปรับระบบบัญชีและรายงานทางการเงิน
ปรับระบบควบคุมภายใน
การเตรียมตัวและระยะเวลาเตรียมการ |
เตรียมข้อมูลและเอกสาร
แปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจำกัด
การเตรียมตัวและระยะเวลาเตรียมการ |
การตรวจสอบข้อมูลและพิจารณาอนุมัติ
การเตรียมตัวและระยะเวลาเตรียมการ |
เสนอขายหุ้นแก่ประชาชน
การเตรียมตัวและระยะเวลาเตรียมการ |
จดทะเบียนและเริ่มซื้อขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ฯ
ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง